ต้องการในเวลานอกเหนือจากการเรียนปกติ(คือ เรียนเสริม)
เนื่องจากสะดวก รวดเร็วในด้านข้อมูล การสืบค้น สามารถเรียนรู้ซ้ำได้หากยังไม่เข้าใจชัดเจน และยังประหยัดเวลา รวมทั้งค่าใช้จ่ายต่ำอีกด้วย
2553-09-04
สถาบันการศึกษาได้ประโยชน์อะไรจากการใช้ระบบ e-learning
- ค่าใช่จ่ายต่ำ
- ไม่จำเป็นต้องยุ่งยากในการจัดการตารางเวลาเรียน และสอน
- สะดวกในการวัดผล
- ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยง่ายขึ้น
- ข้อมูลไม่สูญหาย ทางสถาบันสามารถเก็บไว้ได้
ท่านคิดว่า การเรียนแบบ virtual classroom หรือ e-learning มีข้อดีข้อเสีย อะไรบ้าง
ข้อดี
- ทำให้ไม่เสียเวลาในการเดินทาง
- สะดวก รวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร และการหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน
- ไม่มีการจำกัดระยะทางอีกต่อไป เช่น อยู่คนละจังหวัด กับอาจารย์ผู้สอน ก็สามารถที่จะเข้าเรียนได้ เนื่องจากปัจจุบันมีเทคโนโลยีสนับสนุนมากมาย
- สนับสนุนในระบบ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- สามารถแก้ไขข้อมูลได้ง่าย เนื่องจากมีการจัดเก็บไว้เป็นระบบ
- ทำให้ผู้เรียนกล้าที่จะออกความคิดเห็น และสอบถามคำถามที่สงสัยมากขึ้น
- ต้องระมัดระวังเกี่ยวกับเวลา ถ้าเป็นการสอนแบบออนไลน์ ไม่บันทึกวีดีโอ ซึ่งบางครั้งเวลาของผู้เรียนกับผู้สอนอาจจะไม่ตรงกัน เช่น อยู่ต่างประเทศเวลาจะไม่ตรงกับเมืองไทย เป็นต้น
- ไม่มีส่วนร่วมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน เนื่องจากไม่มีปฎิสัมพันธ์กัน
- ต้องมีความรู้ในเทคโนโลยีในระดับหนึ่ง
- ผู้เรียนต้องเป็นผู้ที่กระตือรือร้นที่จะศึกษาด้วยตนเอง มิฉะนั้นอาจจะไม่สามารถเรียนได้จนจบ
ในมุมมองของธุรกิจนั้น การสร้างระบบสารสนเทศควรคำนึงถึงองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ [Management Information Systems (MIS)]
เป็นระบบเกี่ยวกับการจัดหาคนหรือข้อมูลที่สัมพันธ์กับข้อมูล เพื่อการดำเนินงานขององค์การ เช่น การใช้ MIS เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมของลูกจ้าง เจ้าของกิจการ ลูกค้า และบุคคลอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์การ การประมวลผลของข้อมูลจะช่วยแบ่งภาระการทำงานและยังสามารถนำสารสนเทศมาช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร หรือ MIS เป็นระบบซึ่งรวมความสามารถของผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานการจัดการ และการตัดสินใจในองค์การ หรือ MIS หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล และการสร้างสารสนเทศขึ้นมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ การประสานงาน และการควบคุม นอกจากนั้นยังช่วยผู้บริหารและพนักงานในการวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
โดย MIS จะต้องใช้อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ (Hardware) โปรแกรม (Software) ร่วมกับผู้ใช้ (People ware) และข้อมูล เพื่อก่อให้เกิดความสำเร็จในการได้มาซึ่งสารสนเทศที่มีประโยชน์และมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานที่ดี ซึ่งนี่เป็นองค์ประกอบในการสร้างระบบสารสนเทศที่ควรคำนึงถึง
ดังนั้นการศึกษาระบบสารสนเทศจึงมีเนื้อหาที่กว้างกว่า การศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์โดยตรง ทั้งนี้เนื่องจากว่าเนื้อหาของการจัดการระบบสารสนเทศที่ครอบคลุมถึง
(1) ศาสตร์และศิลปะในการจัดการและการตัดสินใจ
(2) ศึกษาจิตวิทยาและพฤติกรรมของการแสดงออก ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดถึงความสำเร็จหรือล้มเหลวของระบบสารสนเทศ
(3) ศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม (Environment) และการผลักดันทางด้านเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดโอกาสในการใช้ข้อมูลเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
(4) ศึกษาวิธีการสร้างระบบสารสนเทศ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) ในทางธุรกิจ ประวัติ และวิวัฒนาการของระบบสารสนเทศ
การจัดโครงสร้างของสารสนเทศโดยแบ่งตามลำดับการนำไปใช้งาน สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผน นโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง (Top management)
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัติ และการตัดสินใจในผู้บริหารระดับกลาง (Middle management)
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใจระดับปฏิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่าง (Bottom management) จะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน
4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ในขั้นตอนนี้พนักงานจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล และป้อนข้อมูลเข้าสู่กระบวนการประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศออกมานำเสนอต่อผู้บริหาร
เป้าหมายของสารสนเทศในองค์การมักจะคำนึงถึง
(1) การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
(2) การเพิ่มผลผลิต
(3) การเพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า
(4) ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลิตภัณฑ์
(5) สามารถสร้างทางเลือกในการแข่งขัน
(6) สร้างโอกาสทางธุรกิจ
เป็นระบบเกี่ยวกับการจัดหาคนหรือข้อมูลที่สัมพันธ์กับข้อมูล เพื่อการดำเนินงานขององค์การ เช่น การใช้ MIS เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมของลูกจ้าง เจ้าของกิจการ ลูกค้า และบุคคลอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับองค์การ การประมวลผลของข้อมูลจะช่วยแบ่งภาระการทำงานและยังสามารถนำสารสนเทศมาช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร หรือ MIS เป็นระบบซึ่งรวมความสามารถของผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานการจัดการ และการตัดสินใจในองค์การ หรือ MIS หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล และการสร้างสารสนเทศขึ้นมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ การประสานงาน และการควบคุม นอกจากนั้นยังช่วยผู้บริหารและพนักงานในการวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
โดย MIS จะต้องใช้อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ (Hardware) โปรแกรม (Software) ร่วมกับผู้ใช้ (People ware) และข้อมูล เพื่อก่อให้เกิดความสำเร็จในการได้มาซึ่งสารสนเทศที่มีประโยชน์และมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานที่ดี ซึ่งนี่เป็นองค์ประกอบในการสร้างระบบสารสนเทศที่ควรคำนึงถึง
ดังนั้นการศึกษาระบบสารสนเทศจึงมีเนื้อหาที่กว้างกว่า การศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์โดยตรง ทั้งนี้เนื่องจากว่าเนื้อหาของการจัดการระบบสารสนเทศที่ครอบคลุมถึง
(1) ศาสตร์และศิลปะในการจัดการและการตัดสินใจ
(2) ศึกษาจิตวิทยาและพฤติกรรมของการแสดงออก ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดถึงความสำเร็จหรือล้มเหลวของระบบสารสนเทศ
(3) ศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม (Environment) และการผลักดันทางด้านเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดโอกาสในการใช้ข้อมูลเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
(4) ศึกษาวิธีการสร้างระบบสารสนเทศ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) ในทางธุรกิจ ประวัติ และวิวัฒนาการของระบบสารสนเทศ
การจัดโครงสร้างของสารสนเทศโดยแบ่งตามลำดับการนำไปใช้งาน สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผน นโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง (Top management)
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัติ และการตัดสินใจในผู้บริหารระดับกลาง (Middle management)
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการใจระดับปฏิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่าง (Bottom management) จะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน
4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ในขั้นตอนนี้พนักงานจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล และป้อนข้อมูลเข้าสู่กระบวนการประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศออกมานำเสนอต่อผู้บริหาร
เป้าหมายของสารสนเทศในองค์การมักจะคำนึงถึง
(1) การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
(2) การเพิ่มผลผลิต
(3) การเพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า
(4) ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลิตภัณฑ์
(5) สามารถสร้างทางเลือกในการแข่งขัน
(6) สร้างโอกาสทางธุรกิจ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)